อาหารว่างงานศพ ขนมแจกงานศพ (Snack Box งานศพ) – งานศพเป็นหนึ่งในพิธีกรรมที่อยู่คู่สังคมมาอย่างยาวนาน โดยรูปแบบของงานศพนั้นจะมีความแตกต่างไปตามศาสนาและความเชื่อของผู้ล่วงลับและญาติ ทำให้ในแง่ของวัฒนธรรม งานศพเป็นพิธีกรรมที่เป็นแหล่งรวบรวมประเพณี ความเชื่อ และจารีตของสังคมที่สืบเนื่องมาแต่โบราณกาลได้อย่างสมบูรณ์แบบ >>> คลิกสั่งซื้อ <<< ซึ่งหมายรวมถึงรายละเอียดปลีกย่อยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานศพ ไม่ว่าจะเป็นของชำร่วยหรือของที่ระลึกในงานศพ รูปแบบของการละเล่นในงานศพเพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ล่วงลับ รวมถึง อาหารงานศพ ที่แฝงไว้ซึ่งคุณค่าทางวัฒนธรรมที่ผสมผสานไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของท้องถิ่นมากมาย . ด้วยเหตุนี้ อาหารว่างงานศพ ขนมกล่องงานศพ ขนมเบรคงานศพ ของว่างงานศพ อาหารงานศพ อาหารว่างงานศพ จัดเบรคงานศพ จึงนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก แม้ว่าจะดูเป็นรายละเอียดปลีกย่อยที่ดูไม่สลักสำคัญอะไร แต่แท้จริงแล้วในบางสังคม ที่ได้รับการปฏิบัติสืบต่อกันเป็นเวลานาน อาหารว่างงานศพ ราคาประหยัด 25 บาท เบเกอรี่ ขนมปัง จัดทำสดใหม่ ทุกวัน รสชาติอร่อยมาก ชิ้นใหญ่ ได้หลายชิ้น ส่งด่วน ส่งไว ภายใน 3-5 ชั่วโมง ไม่มีวันหยุด
ดอกไม้จันทน์ ราคาส่ง ราคาถูก เช็ค ราคาดอกไม้จันทน์ สําเร็จรูป 100 ดอก, ช่อประธาน, ดอกไม้จันทน์สวยๆ เช่น ดอกไม้จันทน์กุหลาบ ..งานสวย คุณภาพดี สินค้าพร้อมส่ง.. <–– คลิก เช็คราคา ราคาดอกไม้จันทน์ แบบดั้งเดิม โบราณ: ดอกไม้จันทน์ 100 ดอก ราคา <–– คลิก ดอกไม้จันทน์ช่อประธาน ราคา <–– คลิก ราคา ดอกไม้จันทน์ สวยๆ แฟนซี: ดอกไม้จันทน์กุหลาบ ดอกเดี่ยว <–– คลิก ดอกไม้จันทน์ดอกพุด ดอกเดี่ยว <–– คลิก ดอกไม้จันทน์กุหลาบ ช่อประธาน <–– คลิก ดอกไม้จันทน์ดอกพุด ช่อประธาน <–– คลิก
เทศกาลเช็งเม้ง ประวัติ – คนไทยเชื้อสายจีนทุกคนคงไม่มีใครไม่รู้จักเทศกาลเชงเม้ง หรือ เช็งเม้ง ซึ่งนับว่าเป็นหนึ่งในเทศกาลสำคัญที่ลูกหลานจะได้มารวมตัวกันเพื่อเซ่นไหว้ดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ เช็งเม้ง มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีความสำคัญมากเพียงใดต่อรากฐานวัฒนธรรมจีน และมีวิธีในการเซ่นไหว้อย่างไรให้ถูกหลัก วันนี้เราจะมาแนะนำให้คุณได้รู้จักกับเทศกาลเช็งเม้งกันมากขึ้น ทั้งความหมาย ประวัติความเป็นมา และวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง รวมถึงเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยในแง่มุมที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน เช็งเม้ง หมายถึง เช็งเม้ง คือ, เชงเม้ง คือ, เทศกาลเช็งเม้ง คือ, เช็งเม้ง แปลว่า, ความหมายของเช็งเม้ง ตามรากศัพท์ภาษาจีนแล้ว คำว่า ‘เช็งเม้ง’ หมายถึง โมงยามแห่งความรื่นเริง บันเทิงใจ และความสนุกสนาน อันกล่าวได้ว่าเป็นช่วงเวลาที่ญาติพี่น้องภายในครอบครัวจะได้มาร่วมพบปะสังสรรค์กัน หลังจากที่แยกย้ายออกจากบ้านไปอยู่ในที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่าง เมื่อพิจารณาจากภูมิศาสตร์ของประเทศจีนที่มีความกว้างใหญ่ไพศาลแล้ว เทศกาลเช็งเม้งก็มีบทบาทสำคัญในทางวัฒนธรรมที่สะท้อนให้ประจักษ์ว่าในจารีตประเพณีของสังคมจีนนั้น ครอบครัวและต้นตระกูลเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับต้น ๆ ของชีวิต ลูกหลานที่ออกเดินทางไปแสวงโชคในมณฑลต่าง ๆ ก็จะมีโอกาสได้เดินทางกลับบ้านมาเยี่ยมเยียนพ่อแม่ และไหว้บรรพบุรุษในช่วงเทศกาลเช็งเม้ง ไม่ต่างจากในเทศกาลสงกรานต์ที่คนไทยจะยึดวันที่ 14 เมษายนของทุกปีเป็นวันครอบครัวที่ทุกคนจะกลับมารวมตัวกันเพื่อพบปะสังสรรค์ และถามไถ่สารทุกข์สุกดิบในกันและกันนั่นเอง เช็งเม้ง ภาษาอังกฤษ เช็งเม้ง
งันเฮือนดี เมื่อพูดถึงงานศพ แน่นอนว่าทุกคนต้องนึกถึงการแต่งกายด้วยชุดสีดำ และบรรยากาศภายในงานที่เต็มไปด้วยความโศกเศร้า ใครเล่าจะคิดว่าเคยมีงานศพที่มีการร้องรำทำเพลงกันอย่างสนุก และแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าสีสันฉูดฉาดไปร่วมงานจริงไหม งันเฮือนดี หมายถึง <–คลิกอ่าน ต้องบอกเลยว่างานศพแบบนี้เคยมีอยู่จริง โดยปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีในยุคแรก อุษาคเนย์*** นั่นเอง งานศพยุคโบราณ งานศพสมัยก่อน งานศพสมัยโบราณ ***อุษาคเนย์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย งานศพยุคแรกอุษาคเนย์ งานศพอุษาคเนย์ – จนเหมือนเป็นงานรื่นเริงสังสรรค์ในยุคนี้เลยทีเดียว ทั้งยังมีการละเล่นสนุกสนานเฮฮาตามประเพณีอีกด้วย เรียกได้ว่าเป็นการละเล่นที่เกิดจากงานศพ สำหรับคำเรียกงานศพในยุคนั้นก็จะเรียกกันว่า “งันเฮือนดี” นั่นเอง โดยการจัดงานศพหรืองันเฮือนดี จะกำหนดให้มีแม่งานเป็นผู้หญิงทั้งหมด และหากผู้ตายมีลูกเขย ก็จะต้องให้ลูกเขยทุกคนมาเต้นกระทบสากทุกคืนอีกด้วย ซึ่งการเต้นนั้นจะต้องเต้นให้ดี โดยพยายามอย่าให้สากถูกขา หากใครเต้นไม่ได้ เต้นไม่เป็น ก็ต้องจ้างให้คนอื่นมาเต้นแทน เพราะถือว่าเป็นพิธีสำคัญที่จะขาดไม่ได้เลย นอกจากนี้ในงานก็จะมีหมอลำ หมอแคน และการละเล่นกันอย่างสนุกด้วย
การละเล่นที่เกิดจากงานศพ งานศพยุคแรกอุษาคเนย์ – สิ่งต่าง ๆ ที่ผ่านพ้นเข้ามาในชีวิตมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความสุข ความเศร้า ล้วนแล้วแต่เป็นแรงบันดาลใจที่ก่อให้เกิดงานศิลปะทั้งสิ้น โดยเฉพาะงานศพที่เป็นพิธีกรรมที่ทุกคนต้องเผชิญ จึงเป็นจารีตประเพณีที่ผสมผสานไว้ด้วยแง่มุมทางปรัชญา วัฒนธรรม ความเชื่อ และงานศิลปะประเภทต่าง ๆ ที่สะท้อนห้วงอารมณ์ความรู้สึกของผู้คนที่มีต่อการอำลาและเคารพในผู้ล่วงลับออกมา ด้วยเหตุนี้ งานศพจึงเป็นบ่อเกิดของผลงานสร้างสรรค์ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นผลงานในด้านใดบ้าง เราจะพาคุณไปทำความรู้จักดังต่อไปนี้ งานศพกับงานสร้างสรรค์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ งานศพเป็นพิธีกรรมเก่าแก่ที่ดำเนินมาตั้งแต่อารยธรรมของมนุษย์ถือกำเนิดขึ้น โดยทุกอารยธรรมล้วนแล้วแต่มีพิธีกรรมจัดการศพที่แตกต่างกันไปตามความเชื่อและจารีตของท้องถิ่น ยกตัวอย่างเช่น งานศพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการละเล่นเป็นส่วนประกอบสำคัญมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พระพุทธศาสนาเกิดขึ้น และได้รับการเผยแพร่เข้ามาในภูมิภาคเมื่อ 2,000 กว่าปีก่อน พิธีกรรมศพจึงค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนรูปแบบตามอิทธิพลของศาสนาพรามหณ์ฮินดูที่เข้ามามีอิทธิพลในหมู่ชนชั้นนำที่นับถือศาสนาพุทธ ประจักษ์ได้ชัดจากพิธีศพที่เปลี่ยนจากการฝังดินตามความเชื่อของศาสนาผีที่ฝังรากลึกลงในวัฒนธรรมของผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาอย่างยาวนาน มาเป็นการเผาศพตามความเชื่อของศาสนาฮินดูที่เข้ามาพร้อมกับพุทธศาสนาจากอินเดีย ความเปลี่ยนทางความเชื่อที่เกิดขึ้นในพิธีศพก็สะท้อนออกมาผ่านงันเฮือนดีในงานศพแบบท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่นิยมการละเล่นร้องรำทำเพลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพิธีเรียกขวัญ ส่งขวัญ เพื่อคลายความเศร้าโสกให้กับญาติสนิทมิตรสหายของผู้ล่วงลับ โดยมีการละเล่นที่เกี่ยวข้องกับงานศพมากมาย อาทิ พิธีสั่งเสีย เดินดง ชมดง หมอลำ หมอแคน ช่างขับ สวดคฤหัสถ์ (การสวดคฤหัสถ์ได้รับอิทธิพลจากการสวดพระในพิธีสวดศพ การสวดคฤหัสถ์คือการอยู่เป็นเพื่อนศพ) และลิเก
พิธีเก็บกระดูก – เมื่อจบขั้นตอนการฌาปนกิจศพ ถือว่างานศพที่จัดขึ้นได้เดินทางมาถึงครึ่งทางของการส่งดวงวิญญาณของผู้ตายแล้ว และต่อจากนี้ก็มีอีก 2 พิธีที่ต้องทำให้แก่ผู้เสียชีวิต คือ พิธีเก็บอัฐิ และ การลอยอังคาร ‘เก็บกระดูก ลอยอังคาร’ โดย การเก็บกระดูกหลังเผา จะเป็นขั้นตอนต่อเนื่องที่เกิดขึ้นหลังจากการฌาปนกิจศพเสร็จสิ้นแล้ว ซึ่ง เก็บกระดูก เตรียมอะไรบ้าง <–คลิกอ่าน ขั้นตอนการเก็บกระดูก <–คลิกอ่าน วันเก็บกระดูก <–คลิกอ่าน เก็บกระดูกกี่โมง <–คลิกอ่าน เก็บกระดูกพ่อแม่ไว้ที่บ้านได้ไหม <–คลิกอ่าน ของที่ระลึกงานฌาปนกิจ snack box งานศพ ราคาถูก ส่งด่วน ส่งไว ประวัติพิธีการเก็บกระดูก พิธีการเก็บกระดูก (Bone collecting ceremony) – การเก็บกระดูกผู้ตายตามประวัติศาสตร์ราว 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้มีการเก็บกระดูกของผู้ตายเกิดขึ้นแล้ว โดยการเก็บกระดูกจะเกิดขึ้นในช่วงการฝังครั้งที่ 2 เพราะคนในยุคนั้นมีความเชื่อเกี่ยวกับคนที่เพิ่งหมดลมหายใจว่าคนเหล่านั้นยังไม่ได้ตาย แต่ว่าขวัญที่อยู่ในร่างกายนั้นหลุดออกจากร่าง ซึ่งหากสามารถทำการเรียกขวัญกลับมาเข้าร่างได้ คนผู้นั้นก็จะตื่นขึ้นมา ดังนั้น เมื่อมีผู้ที่หยุดหายใจ
ไม้จันทน์หอม เป็นไม้มงคลที่นิยมนำมาใช้ในงานอวมงคลอย่างงานศพ ซึ่งการนำ ไม้จันทน์ มาใช้ในงานศพ ถือเป็นภูมิปัญญาของคนสมัยก่อน นำสิ่งของรอบตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ หนึ่งในนั้นคือการนำไม้จันทน์มาทำเป็นดอกไม้จันทน์ ไม้จันทน์หอม ความเชื่อ <–คลิกอ่าน ไม้จันทน์หอม กลิ่น <–คลิกอ่าน ไม้จันทน์ หมายถึง <–คลิกอ่าน ไม้จันทน์ ภาษาอังกฤษ <–คลิกอ่าน ต้นจันทน์หอม <–คลิกอ่าน ไม้จันทน์ หมายถึง ไม้จันทน์ คือ – ไม้จันทน์ หรือ ไม้ จันทร์ หอม เป็นต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mansonia gagei J. R. Drumm. ex Prain จัดเป็นต้นไม้ที่อยู่ในวงศ์ Sterculiaceae และมีชื่อสามัญว่า Kalamet สำหรับในประเทศไทยมีการเรียกชื่อตามแต่ละท้องถิ่นที่ต่างกันออกไป เช่น ไม้จันทน์, ไม้แก่นจันทน์, ไม้จันทน์หอม, จันทน์ชะมด, จันทน์ขาว, จันทน์พม่า เป็นต้น
พิธีงานศพของชาวมุสลิม พิธีงานศพอิสลาม การจัดการศพตามวิถีอิสลาม – หากพูดถึงเรื่องราวชีวิตหลังความตาย ในแต่ละศาสนาก็จะมาพร้อมคำสอนที่แตกต่างกันไป สำหรับศาสนาอิสลามแล้ว เรื่องของความตาย ไม่ได้เป็นจุดสิ้นสุดของชีวิตแต่อย่างใด หากแต่เป็นจุดเริ่มต้นที่จะก้าวไปสู่การใช้ชีวิตที่แท้จริง โดยชาวมุสลิมทั้งหลายมาพร้อมความเชื่อตามหลักคำสอนว่า เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์สละร่างกายตนไปในภพนี้ วิญญาณทุกดวงที่ล่องลอยออกจากร่างก็จะไปรวมตัวกันอยู่ในโลกที่คั่นกลางระหว่างภพนี้และภพหน้า โดยทุกชีวิตที่ได้เผชิญหน้ากับความตายจะมีโอกาสได้ฟื้นขึ้นมาเพื่อฟังคำตัดสินจากผู้กำหนดโชคชะตาว่า วิญญาณของพวกเขาจะไปลงเอยที่ใด จะใช้ชีวิตหลังโลกนี้ด้วยความสุขสบายอยู่บนสรวงวรรค์ หรือทุกข์ทรมานอย่างเจ็บปวดด้วยการลงทัณฑ์จากบาปกรรมที่ทำมา เนื่องด้วยคำสอนและความเชื่อดังกล่าวที่ชาวมุสลิม หรือผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามยึดถือกันมาช้านาน ทำให้พิธีศพของผู้คนส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาอิสลามมีความเรียบง่าย ไม่ซับซ้อนยุ่งยากเท่าพิธีของชาวพุทธหรือชาวจีน ซึ่งการทำพิธีที่ไม่ซับซ้อนนี้ถือเป็นหนทางที่ชาวมุสลิมจะได้ใกล้ชิดกับโลกคั่นกลางมากที่สุด ขั้นตอนการจัดพิธีศพโดยทั่วไปของคนอิสลาม พิธีงานศพของศาสนาอิสลาม โดยทั่วไปแล้วการจัดงานศพของคนที่นับถือศาสนาอิสลามนั้น ไม่มีอะไรยุ่งยากหรือซับซ้อนแม้แต่น้อย แต่จะมีการแบ่งประเภทของศพที่นำมาทำพิธีเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ศพที่ตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ และศพของทหารที่ตายระหว่างปฏิบัติหน้าที่ 1. ศพที่ตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ศพประเภทนี้เป็นศพที่พบเห็นโดยทั่วไป ซึ่งเป็นศพที่ตายจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคร้ายแรงหรือไม่ร้ายแรง จากอุบัติเหตุหรือชราภาพตายก็ตาม ศพเหล่านี้จะต้องถูกนำร่างมาชำระล้างสิ่งสกปรกต่างๆ ที่ติดตัวอยู่ นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องรีดท้องเพื่อนำสิ่งสกปรกที่อยู่ภายในออกมาด้วย จากนั้นให้ชำระล้างร่างกายภายนอกให้สะอาดเอี่ยมอ่องทั้งตัว หลังจากชำระล้างร่างกายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้นำศพมาวางไว้บนผ้าขาว 3 ชั้น โดยจัดวางมือของศพให้มือขวาทับบนมือซ้าย แล้วเริ่มห่อศพ โดยปิดผ้าให้มิดชิด ไม่ให้มีส่วนใดของร่างกายเล็ดรอดออกมา ขั้นตอนต่อไปคือ
การใส่บาตร กรวดน้ำ ใส่บาตรตอนเช้า – การอุทิศบุญให้กับผู้ล่วงลับ หรือญาติทุกคนภายในตระกูลที่จากไปแล้ว เป็นเรื่องที่คนไทยต่างก็ยึดถือและทำกันมาอย่างยาวนาน บทกรวดน้ํา หลังใส่บาตร <–คลิกอ่าน บทกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ <–คลิกอ่าน บทกรวดน้ํา แบบย่อ <–คลิกอ่าน บทกรวดน้ํา อิทังเม <–คลิกอ่าน วิธีกรวดน้ำ หลังใส่บาตร ที่ถูกต้อง <–คลิกอ่าน เวลากรวดน้ำ ต้องพูดอะไร <–คลิกอ่าน วิธีใส่บาตรให้ผู้ล่วงลับ <–คลิกอ่าน ใส่บาตรให้ผู้ล่วงลับจะได้รับ ไหม <–คลิกอ่าน แม้จะเป็นเพียงความเชื่อ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า เพราะเปรียบเสมือนการได้ส่งบุญ, อาหาร และสิ่งของต่างๆ ไปสู่คนที่เรารักในอีกโลกหนึ่ง ทำให้เกิดความรู้สึกที่เป็นสุขมากขึ้น ดังนั้นถ้าคุณกำลังมองหาความรู้เกี่ยวกับการอุทิศบุญและการทำบุญให้ผู้ที่ล่วงลับอย่างถูกต้อง ข้อมูลในบทความนี้เราได้รวบรวมไว้ให้คุณได้ศึกษาทำความเข้าใจอย่างครบถ้วนแล้วค่ะ ประวัติความเป็นมาของการอุทิศบุญให้ผู้ล่วงลับ การอุทิศบุญหรืออุทิศส่วนกุศล ถือเป็นหนึ่งในพิธีกรรมทางศาสนา ที่เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระเจ้าพิมพิสารที่ได้ทำการอุทิศส่วนกุศลด้วยการใช้น้ำ เพราะในอดีตพระเจ้าพิมพิสารนับถือศาสนาพราหมณ์ที่กำหนดให้ผู้รับของต้องแบมือรับแล้วใช้น้ำรดลงบนมือ พระองค์จึงชินต่อการใช้ประเพณีของศาสนาพราหมณ์ เมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้าและต้องทำการอุทิศส่วนกุศลจึงเลือกใช้วิธีการนี้ แต่ด้วยความที่พระพุทธเจ้าเป็นผู้ไม่ยึดติดและเดินทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) พร้อมได้เห็นถึงความตั้งใจที่พระเจ้าพิมพิสารต้องการอุทิศบุญให้กับผู้ล่วงลับ จึงไม่ได้มีการห้ามแต่อย่างใด เพราะในพุทธศาสนาการอุทิศส่วนกุศลไม่จำเป็นต้องใช้น้ำแต่ใช้เป็นเพียงแค่การอธิษฐานจิตแบบสั้นๆ เพียงเท่านี้ก็จะสามารถส่งบุญกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วได้ ดังนั้นนั่นเอง
รู้ไหมว่าการฝังศพตั้งแต่ยุคเริ่มแรก จนถึงปัจจุบันนั้น มีการวิวัฒนาการมาแล้วหลากหลายวิธี ซึ่งในแต่ละยุคก็จะมีความแตกต่างกันไป ตามความเชื่อและวัฒนธรรมที่รับเอามาจากชาติอื่นในยุคนั้นๆ ด้วย โดยเราจะพาคุณไปดูกันว่า พิธีกรรมศพ การฝังและเผาศพตั้งแต่ยุคเริ่มแรกมาจนถึงทุกวันนี้เป็นอย่างไร การฝังศพในยุคแรก เมื่อ 5,000 ปีมาแล้ว หรือบางแห่งก็อาจจะฝังไว้ตรงลานกลางบ้าน โดยจะมีการจัดท่าทางของศพให้นอนราบเหยียดยาวไปบนพื้น ไม่งอเข่า แต่ทั้งนี้การฝังศพคนตายในยุค 5,000 ปีมาแล้ว จะทำเฉพาะกลุ่มคนที่มีอำนาจ มีบริวาร หรือเป็นกลุ่มคนชั้นนำเท่านั้น ส่วนสามัญชนทั่วไปไม่ได้รับอนุญาตให้ทำการฝังศพได้ เพราะเชื่อกันว่าพิธีกรรมนี้จะต้องทำในกลุ่มคนชั้นสูงเท่านั้น นั่นเอง ฝังศพครั้งที่สอง ต้นเค้าโกศ ในยุค 2,500 ปี เมื่อกาลเวลาล่วงเลยมาจนเข้าสู่ยุค 2,500 ปีมาแล้ว การฝังศพได้มีการปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ตามความเชื่อของคนในยุคนี้ โดยจะมีการฝังศพ 2 ครั้ง “คนตายขวัญหาย ต้องเรียกขวัญ” กล่าวคือครั้งแรกก็จะฝังไว้ใต้ถุนเรือนหรือลานกลางบ้าน เช่นเดียวกับในยุค 5,000 ปีก่อน ซึ่งก็มีการนำเอาข้าวของเครื่องใช้ของคนตายฝังรวมกันไปด้วย เนื่องจากยุคนี้ชาวบ้านเชื่อว่าคนตายเพราะขวัญหาย หากขวัญกลับคืนเข้าร่าง ก็จะฟื้นขึ้นมาได้อีก ซึ่งหลังจากฝังศพจนเนื้อหนังผุไปเหลือแต่กระดูก จะมีการนำเอากระดูก มาใส่ในภาชนะดินเผา
สวดอภิธรรม พิธีสวดศพ หรือที่เรียกอย่างเป็นทางการว่า พิธีสวดอภิธรรมศพ สวดพระอภิธรรม นับว่าเป็นหนึ่งในประเพณีเก่าแก่ที่สุดในสังคมไทย และถือว่าเป็นพิธีที่มีความศักดิ์สิทธิ์เป็นอย่างมาก เนื่องจาก เป็นการแสดงความเคารพต่อผู้ล่วงลับเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนที่จะดำเนินการพระราชทานเพลิงศพหรือฌาปนกิจต่อไปเมื่อเสร็จสิ้นพิธีกรรม สวดอภิธรรม คือ <--คลิกอ่าน ขั้นตอนสวดพระอภิธรรม <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม ใช้พระกี่รูป <--คลิกอ่าน พระสวดอภิธรรม กี่โมง <--คลิกอ่าน พระสวดอภิธรรม กี่นาที <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม กี่วัน <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม ภาษาอังกฤษ <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม เพื่ออะไร <--คลิกอ่าน อย่างไรก็ตาม น้อยคนจะรู้ว่าพิธีกรรมสวดศพนั้นมีประวัติความเป็นมาอย่างไร เข้ามาในประเทศไทยเมื่อใด และเหตุใดจึงต้องมีลำดับพิธีดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน บทความนี้ จะพาคุณย้อนกลับไปในอดีตเพื่อสืบสาวหาที่มาของพิธีกรรมสวดศพในประเทศไทย รวมถึงตอบคำถามว่าทำไมประเพณีดังกล่าวจึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของสังคมไทย สวดอภิธรรม คือ รู้จักพิธีกรรมสวดศพ งานพิธีกรรมสวดพระอภิธรรมศพในปัจจุบันมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับความเชื่อทางพุทธศาสนา โดยเฉพาะความเชื่อเกี่ยวกับสัจธรรมของชีวิตที่มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ ไม่มีใครสามารถหลบหนีความตายได้ เมื่อถึงวัยอันสมควร ร่างกายที่ประกอบขึ้นด้วยธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ