Daily Archives: December 4, 2023

การใส่บาตร กรวดน้ำ และการอุทิศบุญให้ผู้ล่วงลับ

บทกรวดน้ำ การใส่บาตร กรวดน้ำ และการอุทิศบุญให้ผู้ล่วงลับ ทำอย่างไรให้ได้อานิสงส์สูงสุด

การใส่บาตร กรวดน้ำ ใส่บาตรตอนเช้า – การอุทิศบุญให้กับผู้ล่วงลับ หรือญาติทุกคนภายในตระกูลที่จากไปแล้ว เป็นเรื่องที่คนไทยต่างก็ยึดถือและทำกันมาอย่างยาวนาน บทกรวดน้ํา หลังใส่บาตร <–คลิกอ่าน บทกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ <–คลิกอ่าน บทกรวดน้ํา แบบย่อ <–คลิกอ่าน บทกรวดน้ํา อิทังเม <–คลิกอ่าน วิธีกรวดน้ำ หลังใส่บาตร ที่ถูกต้อง <–คลิกอ่าน เวลากรวดน้ำ ต้องพูดอะไร <–คลิกอ่าน วิธีใส่บาตรให้ผู้ล่วงลับ <–คลิกอ่าน ใส่บาตรให้ผู้ล่วงลับจะได้รับ ไหม <–คลิกอ่าน   แม้จะเป็นเพียงความเชื่อ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า เพราะเปรียบเสมือนการได้ส่งบุญ, อาหาร และสิ่งของต่างๆ ไปสู่คนที่เรารักในอีกโลกหนึ่ง ทำให้เกิดความรู้สึกที่เป็นสุขมากขึ้น ดังนั้นถ้าคุณกำลังมองหาความรู้เกี่ยวกับการอุทิศบุญและการทำบุญให้ผู้ที่ล่วงลับอย่างถูกต้อง ข้อมูลในบทความนี้เราได้รวบรวมไว้ให้คุณได้ศึกษาทำความเข้าใจอย่างครบถ้วนแล้วค่ะ   ประวัติความเป็นมาของการอุทิศบุญให้ผู้ล่วงลับ   การอุทิศบุญหรืออุทิศส่วนกุศล ถือเป็นหนึ่งในพิธีกรรมทางศาสนา ที่เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระเจ้าพิมพิสารที่ได้ทำการอุทิศส่วนกุศลด้วยการใช้น้ำ   เพราะในอดีตพระเจ้าพิมพิสารนับถือศาสนาพราหมณ์ที่กำหนดให้ผู้รับของต้องแบมือรับแล้วใช้น้ำรดลงบนมือ พระองค์จึงชินต่อการใช้ประเพณีของศาสนาพราหมณ์  เมื่อได้พบกับพระพุทธเจ้าและต้องทำการอุทิศส่วนกุศลจึงเลือกใช้วิธีการนี้ แต่ด้วยความที่พระพุทธเจ้าเป็นผู้ไม่ยึดติดและเดินทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) พร้อมได้เห็นถึงความตั้งใจที่พระเจ้าพิมพิสารต้องการอุทิศบุญให้กับผู้ล่วงลับ จึงไม่ได้มีการห้ามแต่อย่างใด เพราะในพุทธศาสนาการอุทิศส่วนกุศลไม่จำเป็นต้องใช้น้ำแต่ใช้เป็นเพียงแค่การอธิษฐานจิตแบบสั้นๆ เพียงเท่านี้ก็จะสามารถส่งบุญกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วได้ ดังนั้นนั่นเอง

ประวัติการฝังและเผาศพ ในยุคเริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน

พิธีกรรมศพ ประวัติการฝังและเผาศพ ในยุคเริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน

รู้ไหมว่าการฝังศพตั้งแต่ยุคเริ่มแรก จนถึงปัจจุบันนั้น มีการวิวัฒนาการมาแล้วหลากหลายวิธี ซึ่งในแต่ละยุคก็จะมีความแตกต่างกันไป ตามความเชื่อและวัฒนธรรมที่รับเอามาจากชาติอื่นในยุคนั้นๆ ด้วย โดยเราจะพาคุณไปดูกันว่า พิธีกรรมศพ การฝังและเผาศพตั้งแต่ยุคเริ่มแรกมาจนถึงทุกวันนี้เป็นอย่างไร การฝังศพในยุคแรก เมื่อ 5,000 ปีมาแล้ว หรือบางแห่งก็อาจจะฝังไว้ตรงลานกลางบ้าน โดยจะมีการจัดท่าทางของศพให้นอนราบเหยียดยาวไปบนพื้น ไม่งอเข่า   แต่ทั้งนี้การฝังศพคนตายในยุค 5,000 ปีมาแล้ว จะทำเฉพาะกลุ่มคนที่มีอำนาจ มีบริวาร หรือเป็นกลุ่มคนชั้นนำเท่านั้น   ส่วนสามัญชนทั่วไปไม่ได้รับอนุญาตให้ทำการฝังศพได้ เพราะเชื่อกันว่าพิธีกรรมนี้จะต้องทำในกลุ่มคนชั้นสูงเท่านั้น นั่นเอง   ฝังศพครั้งที่สอง ต้นเค้าโกศ ในยุค 2,500 ปี เมื่อกาลเวลาล่วงเลยมาจนเข้าสู่ยุค 2,500 ปีมาแล้ว การฝังศพได้มีการปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ตามความเชื่อของคนในยุคนี้ โดยจะมีการฝังศพ 2 ครั้ง “คนตายขวัญหาย ต้องเรียกขวัญ” กล่าวคือครั้งแรกก็จะฝังไว้ใต้ถุนเรือนหรือลานกลางบ้าน เช่นเดียวกับในยุค 5,000 ปีก่อน ซึ่งก็มีการนำเอาข้าวของเครื่องใช้ของคนตายฝังรวมกันไปด้วย เนื่องจากยุคนี้ชาวบ้านเชื่อว่าคนตายเพราะขวัญหาย หากขวัญกลับคืนเข้าร่าง ก็จะฟื้นขึ้นมาได้อีก   ซึ่งหลังจากฝังศพจนเนื้อหนังผุไปเหลือแต่กระดูก จะมีการนำเอากระดูก มาใส่ในภาชนะดินเผา

พิธีสวดพระอภิธรรมศพ ความเป็นมาและความสำคัญ

พิธีสวดพระอภิธรรมศพ สวดอภิธรรม ความเป็นมาและความสำคัญ

สวดอภิธรรม พิธีสวดศพ หรือที่เรียกอย่างเป็นทางการว่า พิธีสวดอภิธรรมศพ สวดพระอภิธรรม นับว่าเป็นหนึ่งในประเพณีเก่าแก่ที่สุดในสังคมไทย และถือว่าเป็นพิธีที่มีความศักดิ์สิทธิ์เป็นอย่างมาก เนื่องจาก เป็นการแสดงความเคารพต่อผู้ล่วงลับเป็นครั้งสุดท้าย  ก่อนที่จะดำเนินการพระราชทานเพลิงศพหรือฌาปนกิจต่อไปเมื่อเสร็จสิ้นพิธีกรรม สวดอภิธรรม คือ <--คลิกอ่าน ขั้นตอนสวดพระอภิธรรม <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม ใช้พระกี่รูป <--คลิกอ่าน พระสวดอภิธรรม กี่โมง <--คลิกอ่าน พระสวดอภิธรรม กี่นาที <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม กี่วัน <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม ภาษาอังกฤษ <--คลิกอ่าน สวดอภิธรรม เพื่ออะไร <--คลิกอ่าน   อย่างไรก็ตาม น้อยคนจะรู้ว่าพิธีกรรมสวดศพนั้นมีประวัติความเป็นมาอย่างไร เข้ามาในประเทศไทยเมื่อใด และเหตุใดจึงต้องมีลำดับพิธีดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน บทความนี้ จะพาคุณย้อนกลับไปในอดีตเพื่อสืบสาวหาที่มาของพิธีกรรมสวดศพในประเทศไทย รวมถึงตอบคำถามว่าทำไมประเพณีดังกล่าวจึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของสังคมไทย     สวดอภิธรรม คือ รู้จักพิธีกรรมสวดศพ งานพิธีกรรมสวดพระอภิธรรมศพในปัจจุบันมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับความเชื่อทางพุทธศาสนา โดยเฉพาะความเชื่อเกี่ยวกับสัจธรรมของชีวิตที่มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ ไม่มีใครสามารถหลบหนีความตายได้ เมื่อถึงวัยอันสมควร ร่างกายที่ประกอบขึ้นด้วยธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ
Product added!
The product is already in the wishlist!
Removed from Wishlist

The product has been added to your cart.

Continue shopping View Cart

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ (Cookies) เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ปุ่ม ตั้งค่า 

ยอมรับทั้งหมด Accept Required Only